รูปแบบการใช้ Multiple Representation ในการแก้โจทย์ปัญหาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย เรื่อง กฎของนิวตัน

Titleรูปแบบการใช้ Multiple Representation ในการแก้โจทย์ปัญหาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย เรื่อง กฎของนิวตัน
Publication Typeวิทยานิพนธ์/Thesis
Year of Publication2555
Authorsอัมพวัน ศรแผลง
Degreeวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต--สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา
Institutionคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
Cityอุบลราชธานี
Call NumberQC อ557ร
Keywordsmultiple representation, normalized gain, peer instruction, กลศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา), วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน, แบบทดสอบ FMCE
Abstract

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้การสอนแบบบรรยายออกเป็นช่วงสั้น ๆ หลายช่วง peer instruction (PI) สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในการแก้โจทย์ปัญญาเกี่ยวกับกฎของนิวตัน กลุ่มตัวอย่าง 96 คนมาจาก 3 ห้องเรียน คละความสามารถ โดยใช้ผู้สอนคนเดียวกัน ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่ามีความเข้าใจแนวคิดเรื่องกฎของนิวตันก่อนและหลังการสอนแบบ PI โดยแบบทดสอบ force and motion conceptual evaluation พบว่าการสอนแบบ PI ทำให้นักเรียนเข้าใจแนวคิดเรื่องกฎของนิวตันเพิ่มขึ้น มีความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนทั้งหมดเฉลี่ยเท่ากับ 0.23 นอกจากนี้ยังพบว่าร้อยละการใช้ Multiple Representation แต่ละชนิด ได้แก่ pictorial. Free body diagram, math-equation ยังสัมพันธ์กับระดับความสามารถของนักเรียน

Title Alternate The pattern of using multiple representation in high school student solving of newton' s law
Fulltext: