ผลงานที่ได้รับรางวัล
- รางวัลชนะเลิศต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ ประจ าปี 2535 อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
ผลงานจากการปฏิบัติหน้าที่
- ได้รับ “เข็มคุรุสดุดี” ครูผู้ปฏิบัติตนมีจรรยามรรยาทดีเด่น ตามระเบียบคุรุสภาว่าด้วยจรรยาบรรณครู พ.ศ.2539
- ได้รับการคัดเลือกเป็นครูดีเด่นสังกัดหน่วยการปกครองท้องถิ่น ประจำปี 2540 กรมการปกครอง
- ได้รับรางวัลบุคคลตัวอย่าง ประจำปี 2542 สาขาครูปฏิบัติการสอนจรรยาบรรณดีเด่น จากสำนักพิมพ์เส้นทางผู้นำ
- ได้รับประกาศเกียรติคุณในการปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการประจำหน่วยเลือกตั้ง ปี พ.ศ. 2544 โดยเขตเลือกตั้งที่ 8 จังหวัดอุบลราชธานี
- ได้รับการเชิดชูเกียรติ “ผู้อนุรักษ์วัฒนธรรมไทยตัวอย่าง” ประจำปี 2544 สาขาอนุรักษ์สืบสาน พัฒนาภูมิปัญญา ประเพณี วัฒนธรรมไทย จากหนังสือพิมพ์เส้นทางผู้นำ
- ได้รับเกียรติบัตร “อนุรักษ์ผ้าไทยเทิดไท้ราชินี” ปี พ.ศ.2545 โดยสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
- ผู้บริหารดีเด่นระดับเขตการศึกษา 10 กระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2551
- ได้รับรางวัลผู้บริหารสถานศึกษา “ดีเด่น” ระดับเขตพื้นที่การศึกษา อุบลราชธานีเขต 3 วันที่ 16 มกราคม พ.ศ.2552
- ได้รับรางวัลผู้ดำรงตนอยู่ในคุณธรรมจริยธรรมและบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมจากกรมศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ.2553
- ได้รับรางวัลผู้บริหารสถานศึกษา “ดีเด่น” ระดับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานีเขต 3 วันที่ 16 มกราคม พ.ศ.2554
ผลงาน / เอกสารทางวิชาการ ดังนี้
- เอกสารต้นเทียนประเภทติดพิมพ์
- เป็นต้นแบบของทฤษฎี 13 เหรียญทองสู่อัจฉริยะ
- รูปแบบการบริหารและแผนยุทธศาสตร์การจัดการทุนทางสังคมในสถานศึกษา
- โครงการโรงเรียนรักษ์สิ่งแวดล้อม “ธนาคารขยะรีไซเคิล”
- สถานศึกษาต้นแบบการจัดเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- “การบริหารงานวิชาการโรงเรียนเทศบาล เขตการศึกษา 10”
- การศึกษากลยุทธ์การนิเทศภายในโรงเรียน
- แผนยุทธศาสตร์การจัดการทุนทางสังคมในสถานศึกษา
- “การศึกษารูปแบบการบริหารจัดการแก่งสะพือเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน” สกว.อุบลราชธานี, 2549
- กลยุทธ์เชิงรุกในการพัฒนาโรงเรียนเทศบาล (บ้านโพธิ์กลาง) รางวัลเหรียญเงิน คุรุสภา ปี 2547 หนึ่งโรงเรียนหนึ่งนวัตกรรม
- “ทุนทางสังคมกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นที่ยั่งยืน”
- “แก่งสะพือ” แหล่งอารยธรรมลุ่มน้ำมูลตอนใต้
- การพัฒนาที่ท าให้วิถีคนไทยเปลี่ยนไป จริงหรือ?
- ส่องดู อปท. จัดการศึกษาที่ผ่านมาเป็นอย่างไร?
- “ส้มตำบักหุ่ง” วิวัฒนาการที่ไม่หยุดนิ่ง