ฟังลำกลอนล่องยาว เรื่อง โครงการจัดทำพิพิธภัณฑ์เสียงหมอลำกลอนสืบสานวัฒนธรรมอีสานใต้ โดย หมอลำสุนทร ทนทาน และหมอลำไพบูลย์ ทองพิทักษ์

กลอนลำโครงการจัดทำพิพิธภัณฑ์เสียงหมอลำกลอนสืบสานวัฒนธรรมอีสานใต้

    ลมเอยลมพานต้องทานใบตอง ก้องจานผาน เสียงหมอลำสืบสานวัฒนธรรมพวกพีน้อง อีสานใต้ ให้เห็นตรองใสฮอง ๆ เอ้ยฟังเด้อพวกพี่น้องท้องถิ่นอีสานเฮา เฒ่าปู่ตาพาทำ แต่ก่อนกาลนานช้า ฮิตปู่ตาพาข้าว อีสานเฮาท้องถิ่น การทำอยู่ทำกินแต่ปู่ตาย่าโซ้น หมู่เฮาได้สืบต่อมูล สืบกันมาตั้งแต่พุ้น ฮอดเหลื่องศาสนา มีถาปัตยกรรม วัฒธรรมประเพณีถิ่นเมืองอีสานใต้ พุทธศาสนาได้ดำรงค์ไว้แต่เก่า ฮิต 12 ครองผู้เฒ่า สอนไว้ตั้งแต่ได๋ ตั้งแต่ก่อนเจ็บป่วยหาสมุนไพยาฮากไม้ ของกินอยู่ในดอน เห็นหอนมีอยู่ในดงหมู่กระปลอม แลนแย้ แต่กี้แหม ฝูงคนเฒ่า อีสานเฮาถือฮีตบ่อหลื่นจารีตบ้าน ครองเค้าเก่าหลัง พวกหญิงชายพากันตั้งใจเชื่อในศีลธรรม เชื่อบาทกรรมมีจริง เชื่อคำพระองค์ เจ้า ศาสนาเป็นเหง่าถือธรรมบ่อเคยหลื่น อันฮีตครองอื่น ๆ สืบฮอยตาวาปู่เฒ่าสอนเจ้าบ่อหลื่นครอง ขอกันกินพี่น้อง ตามอัธยาศัย เฮ็ดให้เป็นคือสมัยแต่ก่อนกาลนานช้า ส่อยรักษากันไว้ วัฒนธรรมไทยอีสานใต้เด้อน้องพี่สิอยู่ดีกินดี สำพอเพียงเลี้ยงชีพได้ อย่าไปเห้อห่อเหิม สามัคคีตื่มเพิ่มรักห่อแพงกัน สิเป็นเกียวสัมพันธ์ดังหนังเฮาผั่นความกดดันสิบ่อพ้อ ถ้าเฮานอตามฮีตเก่า วันฮีตครองสิบ่อเศร้า คันเฮาเพิ่มต่อเติม สมัยนี้คนเริ่มหันอ้วยหนี้ไปป๋าของไทยดันไปเอาของเขาประเทศไกลมาใช้ พวกหมอลำเลยได้หันไปนำพวกคนเบิ่ง เฮ็ดบ่อเถิงสิบ่อได้ค่าจ้างเงินแบ๊งค์หมู่สตางค์ภูมิปัญญาพวกหมอลำกะเลยฮ้าง ๆ แนวผู้ใหญ่บ่อเคยสอน เช่นดังหมอลำกลอนเช่นบ้างคนตกงานแต่ละปีหากมีน้อย เยาวชนชุมน้อย ฝังบ่อเป็นช้ำดอกพ่อ วัฒนธรรมนั้นหน่อก่อสิเสื่อม คนนั้นบ่อเติม ศาสนากะเริ่ม บ่อมีผู้อยากสนใจ บ่ออาไลนำศีลห่วงหลายแต่นำชิ้น ครองศีลธรรมหมอลำเว้า เอามาประกาศว่าสอยเบื้องหลังศาสนา บ่อแหมนว่าเว้าเล่น คันเฮานั้นฮื่นตรอง มองทางหลังแหน่บ้าง คันสิหย่าง ให้แนมไกลอย่าให้ใยจูงดัง บ่อแหม่นแนวดังตู้ ควายสองหางเอามาสู้ หุนลูหม้นเข้าป่า ควายผีห่ามันบ่อกินหมู่หญ้ากินโซล่า ก็จั่งไป

หมายเหตุ : กลอนลำอาจไม่ตรงกับเสียงที่หมอลำร้อง อาจเปลี่ยนไปตามลีลาของหมอลำแต่ละคน

มอลำกลอน (ฝ่ายชาย) : นายสุนทร ทนทาน อำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี

มอลำกลอน (ฝ่ายหญิง) : นางไพบูลย์ ทองพิทักษ์ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี